วันพุธ, มีนาคม 22, 2023
  • EnglishEnglish
JAHNNOOM.COM
No Result
View All Result
  • Education
    • Subjects — วิชาต่าง ๆ
      • English — เรียนภาษาอังกฤษ
        • Primary English — อังกฤษประถม
        • Secondary English — อังกฤษมัธยม
        • Advanced English — อังกฤษระดับสูง
    • Take the exam — ทำข้อสอบ
      • English Exam — ข้อสอบภาษาอังกฤษ
    • Worksheet — ใบงานวิชาต่างๆ
      • English Worksheet — ใบงานภาษาอังกฤษ
      • Science Worksheet — ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์
      • Thai Worksheet — ใบงานวิชาภาษาไทย
      • Math Worksheet — ใบงานวิชาคณิตศาสตร์
    • Educational Management — บริหารการศึกษา
    • Thai Education News — ข่าวการศึกษาไทย
  • Definition
    • What is — คืออะไร
    • How to — ทำยังไง
    • Trending — ทันโลก
  • Passion
    • Football — ฟุตบอล
    • Movies — หนัง
    • Music — ดนตรี
    • Food — อาหาร
    • Travel — ท่องเที่ยว
  • See More
    • About — เกี่ยวกับ
    • Blog — บล็อก
    • Privacy Policy — นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • Education
    • Subjects — วิชาต่าง ๆ
      • English — เรียนภาษาอังกฤษ
        • Primary English — อังกฤษประถม
        • Secondary English — อังกฤษมัธยม
        • Advanced English — อังกฤษระดับสูง
    • Take the exam — ทำข้อสอบ
      • English Exam — ข้อสอบภาษาอังกฤษ
    • Worksheet — ใบงานวิชาต่างๆ
      • English Worksheet — ใบงานภาษาอังกฤษ
      • Science Worksheet — ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์
      • Thai Worksheet — ใบงานวิชาภาษาไทย
      • Math Worksheet — ใบงานวิชาคณิตศาสตร์
    • Educational Management — บริหารการศึกษา
    • Thai Education News — ข่าวการศึกษาไทย
  • Definition
    • What is — คืออะไร
    • How to — ทำยังไง
    • Trending — ทันโลก
  • Passion
    • Football — ฟุตบอล
    • Movies — หนัง
    • Music — ดนตรี
    • Food — อาหาร
    • Travel — ท่องเที่ยว
  • See More
    • About — เกี่ยวกับ
    • Blog — บล็อก
    • Privacy Policy — นโยบายความเป็นส่วนตัว
No Result
View All Result
JAHNNOOM.COM
No Result
View All Result

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของ สกินเนอร์ (Operant Conditioning – Skinner)

ทฤษฏีที่เน้นการกระทำของผู้ที่เรียนรู้ มากกว่าสิ่งที่ผู้สอนกำหนด

Noom Atthachai by Noom Atthachai
Reading Time: 6 mins read
118
SHARES
1.7k
VIEWS
แชร์ลงเฟสบุ๊คแชร์ผ่านทวิตเตอร์แชร์ผ่านไลน์

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ เป็นหนึ่งในทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ที่คิดค้นขึ้นโดย สกินเนอร์ (B. F. Skinner) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดพฤติกรรม และผลของการกระทำของพฤติกรรมนั้น โดยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมนั้น ๆ ทฤษฏีนี้เน้นการกระทำของผู้ที่เรียนรู้มากกว่าสิ่งที่ผู้สอนกำหนดขึ้น

Burrhus Frederic Skinner (ค.ศ.1904–1990) – นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน

สกินเนอร์

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของ สกินเนอร์

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory) ถูกคิดค้นโดยสกินเนอร์ (B.F. Skinner) นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน โดยในคริสต์ศักราช 1950 สหรัฐอเมริกาได้ประสพกับวิกฤตการขาดแคลนครูที่มีประสิทธิภาพ  สกินเนอร์จึงได้คิดค้นแนวทางและวิธีสอนขึ้นมาใหม่ เพื่อปรับปรุงให้ระบบการศึกษามีประสิทธิภาพ ซึ่งเครื่องมือที่คิดค้นขึ้นมาและประสบผลสำเร็จ เรียกว่าบทเรียนสำเร็จรูป หรือการสอนแบบโปรแกรม (Program Instruction or Program Learning) และเครื่องมือช่วยในการสอน (Teaching Machine) ก็เป็นที่นิยมแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน

กล่องของ สกินเนอร์ (Skinner Box)

ระหว่างที่สกินเนอร์อยู่ที่ฮาร์วาร์ด เขาเริ่มสนใจที่จะศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์อย่างมีวัตถุประสงค์และเป็นวิทยาศาสตร์ จึงได้พัฒนาสิ่งที่เขาเรียกว่าเครื่องมือสำหรับวางเงื่อนไขแบบการกระทำ ซึ่งต่อมากลายเป็นที่รู้จักในชื่อ กล่องสกินเนอร์ (Skinner Box)

โดยกล่องสกินเนอร์ เป็นกล่องที่มีแท่งหรือกลไกที่สัตว์สามารถกดเพื่อรับอาหาร น้ำ หรือรูปแบบการเสริมแรงอื่นๆ นกพิราบและหนูมักถูกใช้ในการทดลองและศึกษาสำหรับอุปกรณ์นี้

ขั้นตอนการทดลองของสกินเนอร์

ขั้นที่ 1 เตรียมการทดลอง ทำให้หนูหิวมาก ๆ เพื่อสร้างแรงขับ (Drive) ทำให้เกิดขึ้น ซึ่งจะเป็นแนวทางที่จะผลักดันให้แสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ได้เร็วขึ้น อย่างไรก็ตามก็ต้องให้หนูคุ้นเคยกับกล่องของสกินเนอร์

ขั้นที่ 2 ขั้นการทดลอง เมื่อหนูหิวมาก ๆ สกินเนอร์ปล่อยหนูเข้าไปในกล่องสกินเนอร์ หนูจะวิ่งสเปะสปะและแสดงอาการต่าง ๆ เช่น การวิ่งไปรอบ ๆ กล่อง การกัดแทะสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในกล่องซึ่งหนูอาจจะไปแตะลงบนคานที่มีอาหารซ่อนไว้ หนูก็จะได้อาหารกินจนอิ่มและสกินเนอร์สังเกตเห็นว่า ทุกครั้งที่หนูหิวจะใช้เท้าหน้ากดลงไปบนคานเสมอ

ขั้นที่ 3 ขั้นทดสอบการเรียนรู้ สกินเนอร์จะจับหนูเข้าไปในกล่องอีก หนูจะกดคานทันที แสดงว่าหนูเกิดการเรียนรู้แล้วว่า การกดคานจะทำให้ได้กินอาหาร สรุปจากการทดลองนี้แสดงว่า การเรียนรู้ที่ดีจะต้องมีการเสริมแรง

กฎการเสริมแรง

มีอยู่ 2 เรื่อง คือ
1. ตารางกำหนดการเสริมแรง (Schedule of Reinforcement) เป็นการใช้กฎเกณฑ์บางอย่าง เช่น เวลาพฤติกรรม เป็นตัวกำหนดในการเสริมแรง
2. อัตราการตอบสนอง (Response Rate) เป็นการตอบสนองที่เกิดขึ้นจากการเสริมแรงต่าง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นมากน้อยและนานคงทนถาวรเท่าใด ย่อมแล้วแต่ตารางกำหนดการเสริมแรงนั้น ๆ เช่น ตารางกำหนดการเสริมแรงบางอย่าง ทำให้มีอัตราการตอบสอนงมากและบางอย่างมีอัตราการตอบสนองน้อย เป็นต้น

การนำไปใช้ในการเรียนการสอน

1. การใช้กฎการเรียนรู้ กฎที่ 1 คือกฎการเสริมแรงทันทีทันใดมักใช้เมื่อต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็ว เช่นทึกครั้งที่ผู้เรียนตอบคำถามถูก ครูจะรีบเสริมแรงทันที อาจเป็นคำชม เครื่องหมายรูปดาว เป็นต้น ซึ่งเหมาะในการใช้กับเด็กเล็ก เช่น ชั้นอนุบาล ประถม ส่วนกฎที่ 2 คือกฎการเสริมแรงเป็นครั้งเป็นคราวมักใช้เมื่อต้องการให้ผู้เรียนรู้เกิดการเรียนรู้นานต่อไปเรื่อย ๆ แล้วแต่จะเหมาะสมของผู้เรียน และโอกาสที่จะใช้ซึ่งเหมาะสมสำหรับเด็กโต เป็นต้น

2. บทเรียนสำเร็จรูป (Programmed Learning) บทเรียนสำเร็จเริ่มขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1954 จากแนวความคิดของสกินเนอร์ จากทฤษฎีการวางเงื่อนไขในห้องเรียน ผู้เรียนแต่ละคนได้รับการเสริมแรงน้อย และยังห่างจากเวลาที่แสดงพฤติกรรม เป็นเวลานานเกินไปจนขาดประสิทธิภาพเพื่อแก้ไขปัญหานี้เขาจึงเสนอบทเรียนสำเร็จรูป โดยมีจุดประสงค์ว่าผู้เรียนจะได้รับการเสริมแรงทันทีที่แสดงพฤติกรรมที่ถูกต้อง

ทฤษฎีของ สกินเนอร์ โดยสรุป

สกินเนอร์ได้แบ่งทฤษฎีทางพฤติกรรมออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้แบบ Type S (Response Behavior) ซึ่งมีสิ่งเร้า (Stimulus) เป็นตัวกำหนด

2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้แบบ Type R (Operant Behavior) พฤติกรรมหรือการตอบสนองขึ้นอยู่กับการเสริมแรง (Reinforcement) โดยวิธีการให้การเสริมแรง มี 2 วิธี คือ

2.1 ตัวเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) หมายถึง สิ่งเร้าใด ๆ ซึ่งเมื่อนำมาใช้แล้วทำให้อัตราการตอบสนองเพิ่มมากขึ้น เช่น คำชมเชย รางวัล อาหาร

2.2 ตัวเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) หมายถึง สิ่งเร้าใด ๆ ซึ่งเมื่อนำมาใช้แล้วทำให้การตอบสนองเพิ่มขึ้นในทางลบ เป็นตัวเสริมแรงทางลบ

ติดตามเรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

  TRENDING
AI คืออะไร? ปัญญาประดิษฐ์ วิทยาการที่น่าค้นหาหรือน่ากลัว? 3 สัปดาห์ ago
ปณิธานปีใหม่ (New year’s resolution) คือ? 3 เดือน ago
Work-Life Balance เรียนรู้การปรับสมดุลชีวิตการทำงาน 3 เดือน ago
ใช้ชีวิตอย่าง Productive พิชิตเป้าหมายไปสู่ความสำเร็จ 3 เดือน ago
สาเหตุและโทษ ของการติด การพนัน 3 เดือน ago
Next
Prev
Source: simplypsychology.org
Previous Post

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Edward Thorndike)

Next Post

รถสตาร์ทไม่ติด ไฟหน้าปัดขึ้น แก้ปัญหาอย่างไร?

Noom Atthachai

Noom Atthachai

Atthachai Sriworabhat - Master’s of Education (M.Ed.) in Educational Management at Chulalongkorn University - Bachelor’s of Education (B.Ed.) in English Major at Silpakorn University

Related Posts

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
Education

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Edward Thorndike)

by Noom Atthachai
กันยายน 28, 2022
1.3k

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike) ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองการทดลองที่สำคัญ ด้วยการจับแมวใส่ในกรงแล้วให้แมวหาทางออ...

Read more
T-score คือ
Educational Management

คะแนน t-score คือ? สูตร Excel ตาราง

by Noom Atthachai
กันยายน 24, 2022
252

T-score คือ คะแนนที่ได้จากการแปลงค่าคะแนนดิบที่ได้ ด้วยโปรแกรมสูตรตาราง Excel ทำได้เองไม่ยาก ใครที่กำลังประเมินวิทยฐานะ ตาม ก.ค.ศ.3 สามารถโหลดไปใช้งาน...

Read more
การสื่อสารที่ดี
How to

4 วิธีในการพัฒนา “ทักษะการสื่อสาร” ที่มีประสิทธิภาพ

by Noom Atthachai
มีนาคม 29, 2022
47

"ทักษะการสื่อสาร" และ "ความสามารถในการสื่อสาร" สะท้อนความสามารถในการทำงานของเราว่ามีคุณภาพแค่ไหน หลายคนอาจคิดว่าตราบใดที่ยังทำงานได้ดี "ทักษะการสื่อสา...

Read more
การเขียนอ้างอิง
Educational Management

การเขียนอ้างอิงบรรณานุกรม

by Noom Atthachai
มีนาคม 18, 2022
46

บรรณานุกรม (Bibliography) คือ การรวบรวมแหล่งสืบค้นข้อมูล และสื่อประเภทต่างๆ ซึ่ง การเขียนอ้างอิงบรรณานุกรม เป็นการแสดงหลักฐาน และสร้างความน่าเชื่อของข...

Read more
Soft skills คือ? มีอะไรบ้าง แตกต่างจาก Hard Skills อย่างไร?
What is

Soft skills คือ? มีอะไรบ้าง แตกต่างจาก Hard Skills อย่างไร?

by Noom Atthachai
มีนาคม 18, 2022
133

Soft Skills คือ? ในสังคมปัจจุบันที่มีการแข่งขันสูงแค่ทำงานเก่ง หรือมีความรู้ด้านเทคนิค (Hard Skill) สูง อาจทำให้คุณกลายคนสำคัญในองค์กร แต่ทักษะนั้นมีอ...

Read more
Next Post
รถยนต์สตาร์ทไม่ติด

รถสตาร์ทไม่ติด ไฟหน้าปัดขึ้น แก้ปัญหาอย่างไร?

ฟรีแลนซ์ คือ

งาน ฟรีแลนซ์ คือ อะไร?

JAHNNOOM.COM

© 2023 Jahnnoom.com - Atthachai Sriworabhat

Navigate Site

  • About
  • Blog
  • Privacy
  • Contact

Follow Us

No Result
View All Result
  • Education
    • Subjects — วิชาต่าง ๆ
      • English — เรียนภาษาอังกฤษ
    • Take the exam — ทำข้อสอบ
      • English Exam — ข้อสอบภาษาอังกฤษ
    • Worksheet — ใบงานวิชาต่างๆ
      • English Worksheet — ใบงานภาษาอังกฤษ
      • Science Worksheet — ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์
      • Thai Worksheet — ใบงานวิชาภาษาไทย
      • Math Worksheet — ใบงานวิชาคณิตศาสตร์
    • Educational Management — บริหารการศึกษา
    • Thai Education News — ข่าวการศึกษาไทย
  • Definition
    • What is — คืออะไร
    • How to — ทำยังไง
    • Trending — ทันโลก
  • Passion
    • Football — ฟุตบอล
    • Movies — หนัง
    • Music — ดนตรี
    • Food — อาหาร
    • Travel — ท่องเที่ยว
  • See More
    • About — เกี่ยวกับ
    • Blog — บล็อก
    • Privacy Policy — นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • EnglishEnglish

© 2023 Jahnnoom.com - Atthachai Sriworabhat

Welcome Back!

Sign In with Facebook
Sign In with Google
OR

Login to your account below

Forgotten Password? Sign Up

Create New Account!

Sign Up with Facebook
Sign Up with Google
OR

Fill the forms below to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In

Add New Playlist

[ Placeholder content for popup link ] WordPress Download Manager - Best Download Management Plugin

×

Table of Contents

    เราใช้คุ้กกี้เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น คลิกเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้คุกกี้ของเราผ่านทาง นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุ้กกี้.
    Go to mobile version