วันพุธ, กุมภาพันธ์ 8, 2023
  • EnglishEnglish
JAHNNOOM.COM
No Result
View All Result
  • Education
    • Subjects — วิชาต่าง ๆ
      • English — เรียนภาษาอังกฤษ
        • Primary English — อังกฤษประถม
        • Secondary English — อังกฤษมัธยม
        • Advanced English — อังกฤษระดับสูง
    • Take the exam — ทำข้อสอบ
      • English Exam — ข้อสอบภาษาอังกฤษ
    • Worksheet — ใบงานวิชาต่างๆ
      • English Worksheet — ใบงานภาษาอังกฤษ
      • Science Worksheet — ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์
      • Thai Worksheet — ใบงานวิชาภาษาไทย
      • Math Worksheet — ใบงานวิชาคณิตศาสตร์
    • Educational Management — บริหารการศึกษา
    • Thai Education News — ข่าวการศึกษาไทย
  • Definition
    • What is — คืออะไร
    • How to — ทำยังไง
    • Trending — ทันโลก
  • Passion
    • Football — ฟุตบอล
    • Movies — หนัง
    • Music — ดนตรี
    • Food — อาหาร
    • Travel — ท่องเที่ยว
  • See More
    • About — เกี่ยวกับ
    • Blog — บล็อก
    • Privacy Policy — นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • Education
    • Subjects — วิชาต่าง ๆ
      • English — เรียนภาษาอังกฤษ
        • Primary English — อังกฤษประถม
        • Secondary English — อังกฤษมัธยม
        • Advanced English — อังกฤษระดับสูง
    • Take the exam — ทำข้อสอบ
      • English Exam — ข้อสอบภาษาอังกฤษ
    • Worksheet — ใบงานวิชาต่างๆ
      • English Worksheet — ใบงานภาษาอังกฤษ
      • Science Worksheet — ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์
      • Thai Worksheet — ใบงานวิชาภาษาไทย
      • Math Worksheet — ใบงานวิชาคณิตศาสตร์
    • Educational Management — บริหารการศึกษา
    • Thai Education News — ข่าวการศึกษาไทย
  • Definition
    • What is — คืออะไร
    • How to — ทำยังไง
    • Trending — ทันโลก
  • Passion
    • Football — ฟุตบอล
    • Movies — หนัง
    • Music — ดนตรี
    • Food — อาหาร
    • Travel — ท่องเที่ยว
  • See More
    • About — เกี่ยวกับ
    • Blog — บล็อก
    • Privacy Policy — นโยบายความเป็นส่วนตัว
No Result
View All Result
JAHNNOOM.COM
No Result
View All Result

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของ Watson และ Rayner

การทดลองวางเงื่อนไขในมนุษย์ ต่อยอดจากทฤษฎีวางเงื่อนไขของ Pavlov

Noom Atthachai by Noom Atthachai
Reading Time: 9 mins read
91
SHARES
1.3k
VIEWS
แชร์ลงเฟสบุ๊คแชร์ผ่านทวิตเตอร์แชร์ผ่านไลน์

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของ Watson และ Rayner ถูกพัฒนาต่อยอดจาก ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของ Pavlov ด้วยความสงสัยที่ว่าการวางเงื่อนไขดังกล่าว สามารถนำมาใช้กับมนุษย์ได้หรือไม่ แม้จะขัดกับหลักจริยธรรมอยู่บ้างก็ตาม ซึ่งการทดลองในครั้งนี้ใช้หนูขาว แท่งเหล็กที่ทำให้เกิดเสียงดัง และทารกน้อยวัย 9 เดือน ชื่อว่า อัลเบิร์ต (Little Albert) ในการทดลอง โดยใช้ปัจจัยความกลัวที่ีมีต่อหนูสีขาว เป็นตัววัดพฤติกรรมการตอบสนอง

John Broadus Watson (ค.ศ.1878–1958) – นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน

ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Watson
ADVERTISEMENT

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของ Watson

ในช่วงเริ่มต้นของการศึกษาในครั้งนี้ วัตสันและเรย์เนอร์ ได้ขออนุญาตทำการทดลองกับเด็กชายวัย 9 เดือนชื่อ “อัลเบิร์ต (Littile Albert)” ซึ่งเป็นเด็กที่ไม่ได้กลัวอะไรเป็นพิเศษ กลัวแต่เสียงดังเท่านั้น หลังจากได้รับอนุญาตจากคุณแม่ของอัลเบิร์ต นักวิจัยทั้ง 2 จึงตัดสินใจทดสอบกระบวนการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกในมนุษย์ โดยกระตุ้นให้เด็กเกิดความหวาดกลัว

อัลเบิร์ต ทารกวัย 9 เดือนที่ได้รับการทดสอบปฏิกิริยาของเขาต่อสิ่งเร้าที่เป็นกลางต่างๆ เขาได้เห็นหนูสีขาว กระต่าย ลิง และหน้ากากต่างๆ อัลเบิร์ตถูกระบุว่า “ทั้งนิ่งเฉยและไม่รู้สึกใดๆ” ต่อสิ่งเร้าเหล่านี้เลย

อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ทำให้เขาตกใจและทำให้เขากลัวก็คือ เสียงที่ดังอย่างกะทันหัน จากการตีแท่งเหล็กด้วยค้อนที่แขวนอยู่เหนือศีรษะของเขา และทำให้ อัลเบิร์ต ร้องไห้และน้ำตาไหล

เมื่ออายุได้ 11 เดือน อัลเบิร์ต ก็ได้เข้ารับการทดลองอีกครั้ง โดยคราวนี้เขาได้เห็นหนูสีขาวเหมือนเดิม และไม่กี่วินาทีต่อมา ก็มีเสียงดังที่เกิดจากค้อนกระแทกเข้ากับแท่งเหล็ก อย่างที่คาดกัน อัลเบิร์ตก็ร้องไห้ออกมา การทดลองนี้ถูกทำซ้ำอยู่ 7 ครั้ง ในช่วงเวลาห่างกัน 1 สัปดาห์

ถึงตอนนี้ เด็กน้อยอัลเบิร์ต แค่เห็นหนู เขาก็แสดงอาการหวาดกลัวออกมาทันที เขาจะร้องไห้ ไม่ว่าจะมีเสียงค้อนตีแท่งเหล็กหรือไม่ก็ตาม และเขาจะพยายามคลานหนีออกไป

ความกลัวนี้จะเริ่มจางหายเมื่อเวลาผ่านไป อย่างไรก็ตาม ความรู้สึกนี้จะยังสามารถยืดเวลาออกไปได้ ด้วยการทำซ้ำขั้นตอนเดิม 2-3 ครั้ง

5 วันต่อมา วัตสันและเรย์เนอร์พบว่าอัลเบิร์ตมีอาการกลัววัตถุที่มีลักษณะร่วมบางอย่างคล้ายกับหนู ไม่ว่าจะเป็นสุนัขในบ้าน เสื้อคลุมขนสัตว์ สำลี และหน้ากากซานต้า กระบวนการนี้เรียกว่า ลักษณะทั่วไป (Generalization)

การทดลองในครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่าการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก สามารถใช้เพื่อสร้างความหวาดกลัวได้ (Phobia) เดิมทีทารกที่ไม่เคยมีความกลัวมาก่อน ถูกวางเงื่อนไขจนทำให้กลัวหนู

ภายในไม่กี่สัปดาห์หลังจากการวางเงื่อนไข ความกลัวที่มีต่อหนูของอัลเบิร์ตก็ลดลงไปมาก ปฏิกริยาการตอบสนองที่หายไปนี้เรียกว่า การสูญพันธุ์ (Extinction) คือจะค่อยๆ ลดลงไปเรื่อยๆ นั่นเอง

แต่ท้ายที่สุด แม่ของอัลเบิร์ตก็ดึงเขาออกจากการทดลอง และไม่ได้มาทำการทดสอบในครั้งสุดท้าย ทำให้วัตสันและเรย์เนอร์ไม่สามารถทำการทดลองเพิ่มเติมแบบย้อนกลับ ของการตอบสนองต่อเงื่อนไขได้ และการทดลองในครั้งนี้ก็โดนวิพากษ์วิจารณ์เป็นอย่างมาก เนื่องจากถูกมองว่าเป็นการทำร้ายสภาพจิตใจของเด็ก ก่อนที่ภายหลังจะมีการกำหนกแนวทางด้านจริยธรรมในการทดลองเชิงจิตวิทยาขึ้นนั่นเอง

การทดลองของวัตสัน

ติดตามเรื่องราวอื่นๆ ที่น่าสนใจ

  TRENDING
ปณิธานปีใหม่ (New year’s resolution) คือ? 1 เดือน ago
Work-Life Balance เรียนรู้การปรับสมดุลชีวิตการทำงาน 1 เดือน ago
ใช้ชีวิตอย่าง Productive พิชิตเป้าหมายไปสู่ความสำเร็จ 1 เดือน ago
สาเหตุและโทษ ของการติด การพนัน 2 เดือน ago
งาน ฟรีแลนซ์ คือ อะไร? 2 เดือน ago
Next
Prev
Source: simplypsychology.org
Previous Post

ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบคลาสสิค ของ Ivan Pavlov

Next Post

Soft skills คือ? มีอะไรบ้าง แตกต่างจาก Hard Skills อย่างไร?

Noom Atthachai

Noom Atthachai

Atthachai Sriworabhat - Master’s of Education (M.Ed.) in Educational Management at Chulalongkorn University - Bachelor’s of Education (B.Ed.) in English Major at Silpakorn University

Related Posts

สกินเนอร์
Education

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของ สกินเนอร์ (Operant Conditioning – Skinner)

by Noom Atthachai
กันยายน 28, 2022
1.2k

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ หนึ่งในทฤษฎีพฤติกรรมนิยม โดย สกินเนอร์ (Skinner) ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งก่อให้...

Read more
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
Education

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Edward Thorndike)

by Noom Atthachai
กันยายน 28, 2022
1k

ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ (Thorndike) ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองการทดลองที่สำคัญ ด้วยการจับแมวใส่ในกรงแล้วให้แมวหาทางออ...

Read more
T-score คือ
Educational Management

คะแนน t-score คือ? สูตร Excel ตาราง

by Noom Atthachai
กันยายน 24, 2022
165

T-score คือ คะแนนที่ได้จากการแปลงค่าคะแนนดิบที่ได้ ด้วยโปรแกรมสูตรตาราง Excel ทำได้เองไม่ยาก ใครที่กำลังประเมินวิทยฐานะ ตาม ก.ค.ศ.3 สามารถโหลดไปใช้งาน...

Read more
การสื่อสารที่ดี
How to

4 วิธีในการพัฒนา “ทักษะการสื่อสาร” ที่มีประสิทธิภาพ

by Noom Atthachai
มีนาคม 29, 2022
41

"ทักษะการสื่อสาร" และ "ความสามารถในการสื่อสาร" สะท้อนความสามารถในการทำงานของเราว่ามีคุณภาพแค่ไหน หลายคนอาจคิดว่าตราบใดที่ยังทำงานได้ดี "ทักษะการสื่อสา...

Read more
การเขียนอ้างอิง
Educational Management

การเขียนอ้างอิงบรรณานุกรม

by Noom Atthachai
มีนาคม 18, 2022
44

บรรณานุกรม (Bibliography) คือ การรวบรวมแหล่งสืบค้นข้อมูล และสื่อประเภทต่างๆ ซึ่ง การเขียนอ้างอิงบรรณานุกรม เป็นการแสดงหลักฐาน และสร้างความน่าเชื่อของข...

Read more
Next Post
Soft skills คือ? มีอะไรบ้าง แตกต่างจาก Hard Skills อย่างไร?

Soft skills คือ? มีอะไรบ้าง แตกต่างจาก Hard Skills อย่างไร?

ประเภทของการสื่อสาร ความหมายและองค์ประกอบ

ประเภทของการสื่อสาร ความหมายและองค์ประกอบ

JAHNNOOM.COM

© 2023 Jahnnoom.com - Atthachai Sriworabhat

Navigate Site

  • About
  • Blog
  • Privacy
  • Contact

Follow Us

No Result
View All Result
  • Education
    • Subjects — วิชาต่าง ๆ
      • English — เรียนภาษาอังกฤษ
    • Take the exam — ทำข้อสอบ
      • English Exam — ข้อสอบภาษาอังกฤษ
    • Worksheet — ใบงานวิชาต่างๆ
      • English Worksheet — ใบงานภาษาอังกฤษ
      • Science Worksheet — ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์
      • Thai Worksheet — ใบงานวิชาภาษาไทย
      • Math Worksheet — ใบงานวิชาคณิตศาสตร์
    • Educational Management — บริหารการศึกษา
    • Thai Education News — ข่าวการศึกษาไทย
  • Definition
    • What is — คืออะไร
    • How to — ทำยังไง
    • Trending — ทันโลก
  • Passion
    • Football — ฟุตบอล
    • Movies — หนัง
    • Music — ดนตรี
    • Food — อาหาร
    • Travel — ท่องเที่ยว
  • See More
    • About — เกี่ยวกับ
    • Blog — บล็อก
    • Privacy Policy — นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • EnglishEnglish

© 2023 Jahnnoom.com - Atthachai Sriworabhat

Welcome Back!

Sign In with Facebook
Sign In with Google
OR

Login to your account below

Forgotten Password? Sign Up

Create New Account!

Sign Up with Facebook
Sign Up with Google
OR

Fill the forms below to register

All fields are required. Log In

Retrieve your password

Please enter your username or email address to reset your password.

Log In

Add New Playlist

[ Placeholder content for popup link ] WordPress Download Manager - Best Download Management Plugin

×

Table of Contents

    เราใช้คุ้กกี้เพื่อให้ทุกคนได้ประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น คลิกเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้คุกกี้ของเราผ่านทาง นโยบายความเป็นส่วนตัวและคุ้กกี้.
    Go to mobile version